แบบเสนอโครงการ 61

แบบเสนอโครงการ 61

พร้อมมาตรฐานและกลยุทธิ์

กลยุทธ์ สพฐ. 2561

 

  1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็น เครื่องมือการเรียนรู้
  2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
  4. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
  5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามแนวทางการกระจายอำนาจ ตามหลักธรรมาภิบาล
  6. พัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ยากลำบาก

 

กลยุทธ์ สว. 2561

 

  1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็น เครื่องมือการเรียนรู้
  2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
  4. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
  5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามแนวทางการกระจายอำนาจ ตามหลักธรรมาภิบาล

 

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

1.1    ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

1.1.1 ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณตามเกณฑ์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 1-3

1.1.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ  อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา

1.1.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1.1.4 ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

1.1.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการ จากการสอบระดับชาติ

1.1.6 ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทำงาน

1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

1.2.1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ด้านความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง  มีความรับผิดชอบ

และรักษ์สะอาด-มีสุขอนามัยที่ดี

1.2.2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

1.2.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

1.2.4 สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

2.2 การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

2.2.1 การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมาย อย่างเป็นรูปธรรม

2.2.2 การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

2.2.3 การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ

2.2.4 การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ

2.3 การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน

2.4 การกำกับ ติดตาม นิเทศ และ ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา

 

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

3.1 การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม

3.2 การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น

3.3 การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ

 

มาตรฐานที่ 4 ระบบประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น

1) กำหนดมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

2) สร้างความตระหนักให้ทุกคนเรียนรู้และเข้าใจและเห็นคุณค่าของการประกันคุณภาพภายใน

3) จัดทำแผนงาน โครงการประจำปี ให้ครอบคลุมและครบถ้วนสมบูรณ์ รองรับมาตรฐานและตัวบ่งชี้

4) ดำเนินงานตามแผนอย่างเป็นระบบ ที่มีการกำกับ ติดตามงาน อย่างต่อเนื่อง

5) ประเมินผลการดำเนินงาน จัดทำรายงานการประเมินตนเอง เสนอผลต่อสาธารณะชน พร้อมจัดทำฐานข้อมูล

6) นำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานต่อเนื่อง

มาตรฐานประกันคุณภาพภายใน

ในปี 2560 โรงเรียนได้วิเคราะห์มาตรฐานประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา แล้วจัดทำเป็นมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ปี 2560-2563 โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา  รายละเอียดมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในเป็นดังนี้

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

1.1    ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

1.1.1 ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณตามเกณฑ์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 1-3

1.1.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ  อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา

1.1.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1.1.4 ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

1.1.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการ จากการสอบระดับชาติ

1.1.6 ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทำงาน

1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

1.2.1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ด้านความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง  มีความรับผิดชอบ

และรักษ์สะอาด-มีสุขอนามัยที่ดี

1.2.2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

1.2.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

1.2.4 สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

2.2 การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

2.2.1 การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมาย อย่างเป็นรูปธรรม

2.2.2 การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

2.2.3 การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ

2.2.4 การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ

2.3 การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน

2.4 การกำกับ ติดตาม นิเทศ และ ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

3.1 การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม

3.2 การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น

3.3 การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ

มาตรฐานที่ 4 ระบบประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น

1) กำหนดมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

2) สร้างความตระหนักให้ทุกคนเรียนรู้และเข้าใจและเห็นคุณค่าของการประกันคุณภาพภายใน

3) จัดทำแผนงาน โครงการประจำปี ให้ครอบคลุมและครบถ้วนสมบูรณ์ รองรับมาตรฐานและตัวบ่งชี้

4) ดำเนินงานตามแผนอย่างเป็นระบบ ที่มีการกำกับ ติดตามงาน อย่างต่อเนื่อง

5) ประเมินผลการดำเนินงาน จัดทำรายงานการประเมินตนเอง เสนอผลต่อสาธารณะชน พร้อมจัดทำฐานข้อมูล

6) นำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานต่อเนื่อง

ดาวน์โหลดได้ที่นี่